Cloud Tag

SASE

SASE คือการสร้างการใช้งานระบบ Cloud อย่างมั่นคงปลอดภัยให้ประสบความสำเร็จได้ง่ายยิ่งขึ้น โดย SASE จะให้บริการแนวทางในการออกแบบ เพื่อลดวิธีการแบบดั้งเดิมที่ใช้การปะติดปะต่อโซลูชันด้านเครือข่าย...

Read More
Cloud computing

เนื่องจากบริการ Cloud computing เติบโตเต็มที่ทั้งในเชิงพาณิชย์และเทคโนโลยี จะทำให้บริษัทต่างๆ ได้รับประโยชน์สูงสุดได้ง่ายขึ้น การรู้ว่า Cloud computing คืออะไรและทำงานอย่างไรก็มีความสำคัญไม่แพ้กัน สถาบันมาตรฐานและเทคโนโลยีแห่งชาติ (NIST) กำหนดการประมวลผลแบบ Cloud ตามที่เป็นที่รู้จักในปัจจุบันให้มีลักษณะ 5 ข้อ...

Read More

Cloud Computing คือ บริการด้าน IT ที่เปรียบเสมือนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ ที่มีการติดตั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ไว้ให้สำหรับผู้ใช้บริการที่มีความต้องการที่แตกต่างกัน ทำให้ผู้ใช้งานสามารถเลือกใช้งาน Cloud ได้หลากหลายรูปแบบ   Public Cloud คือ ระบบการประมวลผลหรือการจัดเก็บข้อมูลของผู้ใช้งานที่ถูกจัดเก็บบนเครื่อง Server แบบ Public  เปรียบเสมือนในมุมของผู้ให้บริการจะมีการเก็บข้อมูลของผู้ใช้งานแบบสาธารณะไว้ใน Server เดียวกัน แต่ผู้ใช้งานจะไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลของคนอื่นได้ หากไม่ได้รับอนุญาต โดยจะมีความปลอดภัยในการใช้งานระดับหนึ่ง การใช้งาน Public Cloud ในองค์กรที่สามารถพัฒนาระบบเว็บไซต์ แอปพลิเคชัน หรือการใช้งานซอฟต์แวร์ต่างๆ ที่ผู้ให้บริการจัดเตรียมไว้ใช้ เช่น Wordpress, Magento, Docker, Gitlab สำหรับผู้พัฒนาสามารถใช้งาน Public Cloud เพื่อทดสอบการทำงานต่างๆ ภายในองค์กรได้   จุดเด่น Public Cloud  ...

Read More
Cloud Management

Cloud Management .          วันนี้เราจะมาพูดเรื่องของการจัดการระบบ Cloud ที่ดีกันบ้างหลังจากที่ได้บรรยายสรรพคุณของเจ้าพวกนี้มาสักพักแล้ว แต่ถ้าใครยังไม่เคยอ่านก็เชิญกันได้ที่ตรงนี้เลย  อ่านบทความเกี่ยวกับ Cloud อ่าน! . "มาเข้าเรื่องกัน" . Drive cultural change          ก่อนที่คุณจะใช้ External Cloud Platform ซึ่งก็คือ Cloud Platform ภายนอก นั้นคุณควรที่จะเริ่มจากการเปลี่ยน Internal change หรือก็คือการเปลี่ยนแปลงจากภายในองค์กรอย่างการเปลี่ยนแปลงในการรับรู้          โดยเริ่มต้นด้วยการดูข้อมูลเชิงลึกว่ากระบวนการทางธุรกิจของคุณทำงานอย่างไร ข้อมูลในส่วนของต้นนี้นั้นยิ่งมีความละเอียดมากเท่าไหร่ก็ยิ่งดีมากเท่านั้น เพื่อจัดเตรียม Cloud Solution แทนที่จะพยายามปรับกระบวนการขององค์กรให้เข้ากับโครงสร้างพื้นฐานใหม่แทน ทั้งหมดก็เพื่อการปรับการดำเนินงานและ Cloud ในลักษณะที่มีโครงสร้าง  ...

Read More
Cloud computing กับ Cloud native คืออะไรต่างกันยังไง

Cloud computing กับ Cloud native คืออะไรต่างกันยังไง .          Cloud computing กับ Cloud native ชื่อนี้ทุกคนคงจะเคยคุ้นหูกันดีอยู่แล้วแต่หากท่านไหนที่ยังสงสัยว่ามันคืออะไร Cloud มันไม่ใช่แค่พื้นที่ที่เอาไว้ฝากไฟล์อย่าง Google Cloud, One Drive หรือ iCloud แค่นั้นเหรอ สิ่งที่กำลังจะอ่านต่อไปนี้มีคำตอบค่ะ . Cloud computing          เอาแบบง่ายๆ เลยคือ บริการที่ครอบคลุมตั้งแต่การคำนวณหน่วยที่ใช้เพื่อจัดเก็บข้อมูลให้ใช้ทรัพยากรได้ตรงกับความต้องการสำหรับการใช้งานผ่านทางระบบอินเทอร์เน็ตเพื่อให้ผู้ใช้บริการสามารถเข้าถึงข้อมูลจากที่ไหนก็ได้ ซึ่งข้อดีของมันก็คือการที่เราจะจ่ายแต่ในส่วนของทรัพยากรที่เราใช้ตามจริงเท่านั้น จึงเป็นการลดต้นทุนกว่าแบบตั้ง Hardware แบบเดิม โดยผู้ให้บริการ Cloud computing ก็ยกตัวอย่างเช่น...

Read More
ปกป้อง Multi-cloud ด้วย Azure Security Center (ASC)

ปกป้อง Multi-cloud ด้วย Azure Security Center (ASC) .          Azure Security Center นั้นเป็นหนึ่งในการให้บริการของ Azure ผลิตภัณฑ์ของ Microsoft ซึ่งเจ้าตัว Azure Security Center นั้นจะช่วยในการค้นหาช่องโหว่ด้านความปลอดภัยและทำการแก้ไข รวมไปถึงการควบคุมในการเข้าถึงและการควบคุม Application เพื่อป้องกันกิจกรรมที่เป็นอันตราย อีกทั้งยังสามารถตรวจจับภัยคุกคามด้วยการวิเคราะห์และความสามารถให้ตอบสนองได้อย่างรวดเร็วเมื่อมีการโจมตีเข้ามา          Azure Security Center นั้นดูแลไม่เพียงแต่ผลิตภัณฑ์ของ Azure แต่ยังขยายขีดความสามารถให้ครอบคลุมที่ไม่ใช่แค่ปกป้องแบบ Hybrid แต่ยังรวมไปถึง Multi-cloud อย่าง AWS...

Read More
How to reduce IT cost

เคล็ด(ไม่)ลับ ประหยัดงบด้าน IT . ในปัจจุบัน เราปฎิเสธไม่ได้เลยว่าการระบาดของโรคโควิด19 นั่นกระทบถึงระบบเศรษฐกิจมากแค่ไหน แทบทุกภาคธุรกิจได้รับผลกระทบจากการล็อกดาวและการปิดประเทศ ซึ่งผลกระทบไม่ได้มีแค่นั้นมันยังส่งผลกระทบอื่นๆอีกมากมาย ตลอดระยะการระบาดกว่า2ปีที่ผ่านมา มันได้เปลี่ยนพฤติกรรมของผู้บริโภค เปลี่ยนวิถีชีวิตของคน ทั้งการใช้จ่าย การซื้อสินค้า คนออกจากบ้านน้อยลง . เนื่องจากรายได้ที่ลดลงบริษัทหรือองค์กร จึงหันมาลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็น อะไรที่มันประหยัดได้ก็ต้องประหยัด ซึ่งการลดค่าใช้จ่ายบางอย่างมันสามารถช่วยให้เราประหยัดงบในระยะยาวและมีกำไรมากขึ้นได้  ดังนั้นวันนี้เราจะพามาดู 10 วิธีลดค่าใช้จ่ายด้าน IT จากทางเว็บไซต์ Gartner.com กัน . 1. เลือกจ่ายตามการใช้งานจริง . แทนที่จ่ายแบบตามสัญญาระยะยาวก็หันมาจ่ายเป็นรายปี หรือจ่ายรายเดือนแทนแบบ Subscription ตามการใช้งานจริง เลือกจ่ายตามผู้ใช้หรือตามที่พนักงานใช้จริงๆ เลือกซื้อแต่โปรแกรมที่จำเป็นต้องใช้ ซึ่งตรงนี้นั่นต้องดูแต่ละบริษัทว่ามีความต้องการแบบไหน บางทีการซื้อระยะยาวก็อาจจะประหยัดงบมากกว่า เพราะว่าการซื้อระยะยาวอาจจะมีส่วนลดพิเศษและก็สอดคล้องกับการที่บริษัทต้องใช้โปรแกรมนี้ตลอดอยู่แล้ว แต่การซื้อแบบรายเดือนก็อาจจะประหยัดสำหรับองค์กรที่ต้องการใช้ในระยะเวลาสั้นๆ . 2. ให้ความสำคัญกับการลดภาระรายจ่ายในระยะยาว . ไม่ใช่แค่การลดค่าใช้จ่ายเพียงระยะสั้นหรือเลื่อนออกไปชั่วคราว . 3.ให้ความสำคัญกับเงินสด . ลดค่าใช้จ่ายที่กระทบต่อเงินสดจริงในงบประมาณกำไรและขาดทุน พูดง่ายๆคือหากคุณสามารถลดค่าใช้จ่ายได้ กำไรที่ตามมาก็จะเพิ่มมากขึ้นนั่นเอง โดยเฉพาะหากคุณสามารถลดรายจ่ายค่าเสื่อมสภาพ การบำรุงรักษาไปได้ . 4. วางแผนตัดลดรายจ่ายให้ได้ภายในครั้งเดียว . ในการจะตัดลดรายจ่ายนั้นควรจะวางแผนให้รอบคอบ ควรดำเนินการในคราวเดียวให้เสร็จสิ้น...

Read More
Cloud ERP vs On-Premise ERP

Cloud ERP vs On-Premise ERP แบบไหนดีกว่า? . .. . . ERP คืออะไร? . ระบบ ERP เป็นการวางแผนทรัพย์กรขององค์กรซึ่งจะครอบคลุมการทำงานตั้งแต่ การวางแผนและการจัดการฐานข้อมูลของหน่วยงานต่างๆไว้ในที่เดียวกันเพื่อให้เป็นระบบมาตรฐานเดียว ในการใช้งานที่รวดเร็วและให้องค์กรนั้นได้มีการบริหารและการใช้ ทรัพยากรร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น .  Data Analytics เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกเพื่อนำมาใช้ในการตัดสินสามารถวิเคราะห์ข้อมูลย้อนหลังที่เคยเกิดขึ้นในอดีตเพื่อให้เข้าใจถึงปัญหา หรือพยากรณ์สิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เพื่อให้องค์กรนั้นสามารถนำผลลัพธ์ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ต่อธุรกิจให้มีประสิทธิมากยิ่งขึ้น . ในปัจจุบันระบบ ERP ได้เข้ามามีบทบาทสำคัญในการเสริม Data Analytics ในองค์กรภาคธุรกิจกันอย่างแพร่หลาย ซึ่งในภาคธุรกิจนั้นก็ได้นำเทคโนโลยี Data Analytics นั้นเข้ามามีบทบาทสำคัญในการช่วยให้ธุรกิจประสบความสำเร็จ และยังสามารถแปลงข้อมูลต่างๆ ให้กลายเป็นผลวิเคราะห์เชิงลึกที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในระบบ ERP . . On-premise ERP ได้รับการติดตั้งและจัดการโดยเจ้าหน้าที่ไอทีของ บริษัท หรือผู้ให้บริการที่มีการจัดการ ธุรกิจอนุญาตให้ใช้งานแพลตฟอร์มซอฟต์แวร์หลักล่วงหน้าจากนั้นซื้อหรือเช่าเซิร์ฟเวอร์ระดับองค์กรเครือข่ายและที่เก็บข้อมูลเพื่อใช้งานจริงและเป็นที่เก็บซอฟต์แวร์และข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ธุรกิจที่ใช้ ERP ในองค์กรต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมสำหรับการบำรุงรักษาการแก้ไขปัญหาซอฟต์แวร์เสริมการอัปเดตและการปรับแต่ง ซอฟต์แวร์ป้องกันไวรัสและความปลอดภัยตลอดจนระบบจัดเก็บข้อมูลและเซิร์ฟเวอร์สำรองก็มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมที่จำเป็นเช่นกัน . . Cloud ERP ได้รับการโฮสต์และจัดการโดยผู้ขายซึ่งจัดหาซอฟต์แวร์ในรูปแบบ "เป็นบริการ"...

Read More
aws vs azure

AWS VS Azure เปรียบเทียบความแตกต่างแบบชัดๆ . . ภาพรวมความแตกต่าง . AWS ไม่เปิดกว้างสำหรับผู้ให้บริการระบบคลาวด์ส่วนตัวหรือบุคคลที่สาม . Azure เปิดให้ใช้กับระบบไฮบริดคลาวด์ . AWS มีคุณสมบัติและการกำหนดค่าเพิ่มเติมและมอบความยืดหยุ่นพลังและการปรับแต่งมากมาย พร้อมรองรับการรวมเครื่องมือของบุคคลที่สามจำนวนมาก . Azure ผู้ใช้จำเป็นต้องเลือกฮาร์ดดิสก์เสมือนเพื่อสร้าง VM ซึ่งได้รับการกำหนดค่าล่วงหน้าโดยบุคคลที่สาม ผู้ใช้ต้องระบุจำนวนคอร์และหน่วยความจำที่ต้องการ . AWS ผู้ใช้ EC2 [Amazon Elastic Compute] สามารถกำหนดค่า VMS ของตนเองหรืออิมเมจที่กำหนดค่าไว้ล่วงหน้า . Azure ใช้งานง่ายหากคุณคุ้นเคยกับ Windows เนื่องจากเป็นแพลตฟอร์ม Windows การรวมเซิร์ฟเวอร์ Windows ในองค์กรเข้ากับอินสแตนซ์ระบบคลาวด์เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมแบบไฮบริดนั้นค่อนข้างง่าย . AWS เป็นไปตามรูปแบบการจ่ายตามการใช้งานและการเรียกเก็บเงินต่อชั่วโมง . Azure ยังเป็นไปตามรูปแบบการจ่ายตามการใช้งานและค่าบริการต่อนาทีซึ่งให้รูปแบบการกำหนดราคาที่แม่นยำยิ่งขึ้น . AWS นำเสนอคลาวด์ส่วนตัวเสมือนเพื่อให้ผู้ใช้สามารถสร้างเครือข่ายแยกต่างหากภายในคลาวด์ . Azure นำเสนอเครือข่ายเสมือนซึ่งผู้ใช้สามารถสร้างเครือข่ายแยกเครือข่ายย่อยตารางเส้นทางช่วงที่อยู่ IP ส่วนตัวเช่นเดียวกับ AWS . AWS นำเสนอพื้นที่เก็บข้อมูลชั่วคราวซึ่งสามารถกำหนดได้เมื่ออินสแตนซ์เริ่มต้น จากนั้นจะทำลายเมื่อสิ้นสุดการทำงาน, S3 [Simple Storage Service]...

Read More

Cloud vs on-premises แบบไหนคุ้มกว่า? . . On-Cloud คือ ระบบ Server หรือ การวางฐานข้อมูลไว้ในระบบ server ที่อยู่บน Cloud ซึ่งผู้ใช้งานจะสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ทุกที่ ทุกเวลา โดยไม่มีข้อจำกัดในเรื่องของการแบ่งปัน และเชื่อมต่อข้อมูล อีกทั้งการลงทุนค่อนข้างต่ำ ผู้ใช้งานไม่ต้องลงทุนในการซื้อ Hardware หรือ Software เอง ซึ่งในส่วนนี้ผู้ให้บริการจะเป็นผู้ดูแล Hardware และ Upgrade ซอฟต์แวร์ให้ทันสมัยอยู่เสมอ โดยผู้ใช้งานต้องทำการจ่ายค่าเช่าเป็นรายเดือน และคิดค่าใช้จ่ายตามการใช้งานจริง ทำให้ผู้ใช้งานสามารถควบคุมค่าใช้จ่ายได้ . On-Premise คือ การที่ติดตั้ง หรือ วางระบบ Server ไว้ภายในองค์กร โดยอาศัยการแชร์ข้อมูลจากส่วนกลางของ Server พนักงานทุกแผนกจะสามารถเข้าถึงข้อมูลที่แชร์ผ่าน Server...

Read More